- ตัวอย่างการคำนวณ ปริมาณคอนกรีตที่ใช้เทคาน
ปริมาณคอนกรีตที่ต้องใช้
- กว้าง x ลึก x ยาว
- 0.15 x 0.3 x 4
- 0.18 คิว
- ตัวอย่างการคำนวณ ปริมาณคอนกรีตที่ใช้เทเสา
ปริมาณคอนกรีตที่ต้องใช้
- กว้าง x ยาว x สูง
- 0.3 x 0.3 x 3
- 0.27 คิว
- ตัวอย่างการคำนวณ ปริมาณคอนกรีตที่ใช้เทพื้น
ปริมาณคอนกรีตที่ต้องใช้
- กว้าง x ยาว x หนา
- 5 x 2 x 0.1
- 1 คิว
คำถามที่ว่า 1คิว เทได้กี่ตารางเมตรนั้น
ตอบ คือ คอนกรีต 1 คิว
- ถ้าเทพื้นหนา 5ซม. เช่นพื้นบ้าน จะเทได้ 20 ตารางเมตร
- ถ้าเทพื้นหนา 10ซม. เช่นพื้นบ้าน จะเทได้ 10 ตารางเมตร
- ถ้าเทพื้นหนา 15ซม. เช่นเทพื้นลาดจอดรถ จะเทได้ 6.5 ตารางเมตร
- ถ้าเทพื้นหนา 20ซม. เช่นเทถนน จะเทได้ 5 ตารางเมตร
ดังนั้นไม่ว่าจะคำถามที่ว่า ปูน1คิวเทได้กี่ตารางเมตร เทพื้นกี่ตารางเมตร ,ปูน 1ถุงเทได้กี่ตารางเมตร ปูน1กระสอบเทพื้นได้กี่ตารางเมตร หรือ ปูนซีเมนต์1ลูกเทพื้นได้เท่าไหร่นั้น ทุกคำตอบคือ ต้องขึ้นอยู่กับว่า เทคอนกรีตหนากี่เซนติเมตร เพราะคอนกรีต 1คิว หรือ 1 ลบ.ม. ใช้ปูนซีเมนต์ 6.4 ถุง ความหนาแต่หละความหนาที่สามารถเทพื้นที่ได้เท่าไหร่ต้องคำนวณ ดังตัวอย่างด้านบน
ข้อมูลและภาพ จาก
การออกแบบส่วนผสมโดยปริมาตร สำหรับงานก่อสร้างขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะกำหนดสัดส่วนผสมโดยปริมาตร เช่น 1: 2 : 4 อัตราส่วนที่กล่าวถึงนี้คือ ใช้ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน ทราย 2 ส่วน หิน 4 ส่วน โดยปริมาตร การที่จะแปลงส่วนผสมโดยปริมาตรดังกล่าวให้เป็นส่วนผสมโดยน้ำหนักสามารถทำได้ดังนี้
ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณ 1 หน่วยน้ำหนักของปูนซีเมนต์ = 1,400 กก./ลบ.ม.
2 หน่วยน้ำหนักของหินทราย = 1,450 กก./ลบ.ม.
• การคำนวณ
ปูน 1 ถุง 50 กิโลกรัม มีปริมาตร = 0.036 ลบ.ม.
ทราย 2 ส่วน มีปริมาตร = 0.036x2 = 0.072 ลบ.ม.
น้ำหนักทราย = 0.072x 1450 = 104 กก.
หิน 4 ส่วนมีปริมาตร = 0.036x4 = 0.144 ลบ.ม.
น้ำหนักหิน = 0.144 x 1450 = 209 กก.
ปริมาณน้ำที่ใช้โดยทั่วไปสำหรับปูน 1 ถุง เพื่อให้ได้ค่ายุบตัวประมาณ 10 ซม. เท่ากับ 30 ลิตร น้ำหนักของส่วนผสมทั้งหมด
เมื่อใช้ปูน 1 ถุง = 50+104+209+30 = 393 กก. หน่วยน้ำหนักคอนกรีต 1 ลบ.ม. = 2400 กก.ต้องใช้ปริมาณปูน = 6.1 ถุง = 305 กก./ลบ.ม.
• สรุป ส่วนผสมใน 1 ลบ.ม.
ปูนซีเมนต์ = 305 กก./ลบ.ม.
ทราย = 635 กก./ลบ.ม.
หิน = 1275 กก./ลบ.ม.
น้ำ = 185 กก./ลบ.ม.
ค่ายุบตัว 10 ซม.
เทพื้น 10 ตร.ม หนา 10 ซม. = 0.1 ลบ.ม. ดังนั้น ใช้ อัตราส่วนดังนี้
ปูนซีเมนต์ = 30.5 กก.
ทราย = 63.5 กก.
หิน = 127.5 กก.
น้ำ = 18.5 กก. ( ลิตร )
การออกแบบส่วนผสมโดยปริมาตร สำหรับงานก่อสร้างขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะกำหนดสัดส่วนผสมโดยปริมาตร เช่น 1: 2 : 4 อัตราส่วนที่กล่าวถึงนี้คือ ใช้ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน ทราย 2 ส่วน หิน 4 ส่วน โดยปริมาตร การที่จะแปลงส่วนผสมโดยปริมาตรดังกล่าวให้เป็นส่วนผสมโดยน้ำหนักสามารถทำได้ดังนี้
ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณ 1 หน่วยน้ำหนักของปูนซีเมนต์ = 1,400 กก./ลบ.ม.
2 หน่วยน้ำหนักของหินทราย = 1,450 กก./ลบ.ม.
• การคำนวณ
ปูน 1 ถุง 50 กิโลกรัม มีปริมาตร = 0.036 ลบ.ม.
ทราย 2 ส่วน มีปริมาตร = 0.036x2 = 0.072 ลบ.ม.
น้ำหนักทราย = 0.072x 1450 = 104 กก.
หิน 4 ส่วนมีปริมาตร = 0.036x4 = 0.144 ลบ.ม.
น้ำหนักหิน = 0.144 x 1450 = 209 กก.
ปริมาณน้ำที่ใช้โดยทั่วไปสำหรับปูน 1 ถุง เพื่อให้ได้ค่ายุบตัวประมาณ 10 ซม. เท่ากับ 30 ลิตร น้ำหนักของส่วนผสมทั้งหมด
เมื่อใช้ปูน 1 ถุง = 50+104+209+30 = 393 กก. หน่วยน้ำหนักคอนกรีต 1 ลบ.ม. = 2400 กก.ต้องใช้ปริมาณปูน = 6.1 ถุง = 305 กก./ลบ.ม.
• สรุป ส่วนผสมใน 1 ลบ.ม.
ปูนซีเมนต์ = 305 กก./ลบ.ม.
ทราย = 635 กก./ลบ.ม.
หิน = 1275 กก./ลบ.ม.
น้ำ = 185 กก./ลบ.ม.
ค่ายุบตัว 10 ซม.
เทพื้น 10 ตร.ม หนา 10 ซม. = 0.1 ลบ.ม. ดังนั้น ใช้ อัตราส่วนดังนี้
ปูนซีเมนต์ = 30.5 กก.
ทราย = 63.5 กก.
หิน = 127.5 กก.
น้ำ = 18.5 กก. ( ลิตร )
โปรแกรมคำนวนปูน >>>http://www.poonmix.com/
ผมว่าตอนสรุปคำนวนผิดนะครับ
ตอบลบอยากทราบการคำนวณการใช้เหล็กต่อการรับ น.น. ของเสาและคาน
ตอบลบ